โครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่อันเนื่องมาจากพระราชดำริจังหวิดนครพนม


โครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่อันเนื่องมาจากพระราชดำริจังหวิดนครพนม


โครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่อันเนื่องมาจากพระราชดำริจังหวิดนครพนมจังหวัดนครพนม

จากการที่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จมาเยี่ยมราษฎรที่วัด
ธนราษฎรอุทิศ   บ้านทันสมัย ตำบลมหาชัย อำเภอปลาปาก   จังหวัดนาครพนม เมื่อวันที่   8 มิถุนายน 2538   พระองค์ได้ทรงมีพระราชปฏิสันถารกับผู้ว่าราชการจังหวัดนครพนม (พ.ต. ปรีดานิสสัยเจริญ)   ในขณะนั้นและ นายมนตรี เชียงอารีย์ ป่าไม้จังหวัดนครพนม ได้ทรงซักถามถึงสภาพป่าเหลีอยู่เท่าใด ป่าไม้จังหวัดฯ ถวายรายงานว่าป่าดงบ้านโพนสว่าง ปลาปากมีเนื้อที่   63750 ไร่ มีสภาพป่าเหลืออยู่ ร้อยละ 40-50 แต่ว่าเป็นป่าที่ไม่มีไม้ใหญ่ ไม้ที่มีอยู่เป็นไม้ขนาดเล็กถึงปานกลาง และป่าก็ไม่เป็นผืนเดียวติดต่อกัน อยู่กระจัดกระจายเป็นหย่อม ๆ ราษฎรเช้าไปยู่อาศัยและทำกันในเขตป่าสงวนแห่งชาติ นอกเขตป่าที่เหลือราษฎรได้เข้าไปยึดถือครอบครองหมดแล้ว เมื่อทรงทราบเช่นนั้น ทรงตรัสว่า ในเมื่อราษฎรเข้าไปจัดสรรทำกันแล้ว ทางการทำไมไม่เข้าไปอยู่อาศัยและทำกันไนเขตป่าสงวนแห่งชาติ นอกเขตป่าที่เหลือราษฎรได้เข้าไปยึดถือครอบครองหมดแล้ว เมื่อทรงทราบเช่นนั้น ทรงตรัสว่า ในเมื่อราษฎรเข้าไปจัดสรรทำกันแล้ว   ทางหารทำไมไม่เข้าไปจัดสรรทำกันแล้งทางการทำไมไม่เข้าไปจัดการให้เข้ารักหวงแหนสภาพป่าที่เหลืออยู่เอาไว้และอธิบายชี้แจงให้เขาเห็นว่าป่าควรจะมีอยู่เพื่อป้องกันความแห้งแล้ง   ซึ่งป่าจะเป็นเสมือนเครื่องอุ้มน้ำไว้ให้มากที่สุดและเป็นที่เก็บกักน้ำที่จะระบายออกไป ให้แก่ประชาชนได้ให้สอยในหารเกษตรในการอุปโภคและบริโภคในหน้า แล้งได้ต่อเนื่องตลอดปี และให้เขาทำกิน ประมาณ 8- 10 ไร่ โดยส่งเสริมให้ชาวบ้านได้รับผลิตผลจากการเกษตรหรือผลิตผลจากการเพาะปลูกจากพื้นที่ 8-10 ไร่นี้ให้เพียงพอต่อการทำมาหากันส่งเสริมให้ปลูก สร้าง สวนป่า และสภาพป่าที่ยังไม่ได้ถูกแผ้วถางไป ก็ให้ชาวบ้านต่างคนต่างดูแลรักษา เมื่อทรงมีรพระราชดำรัสอย่างนี้ จังหวัดนครพนม โดยทางสำนักงาน ป่าไม้จังหวัดได้ส่งเจ้าหน้าที่ออกไปทำการสำรวจหาข้อมูล ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงบ้าโพนสว่างปลาปากระหว่างวันที่ 1-13 กรกฎาคม 2535 รวม 31 วัน ผลการสำรวจข้อมูลปรากฏดังนี้
 
                        2.6.1   หมู่บ้านที่อยู่ในเขตป่าสงวน 
                       6 หมู่บ้านได้รับการจัดตั้งเป็นหมู่บ้านจากกรมการปกครองแล้ว และมีหมู่บ้านที่อยู่ราอบนอกเขตป่าสงวนฯ แต่ราษฎรเข้าไปอาศัยทำกันในเขตพื้นที่ป่าสงวนฯ จำนวน 11 หมู่บ้าน
                        2.6.2     ราษฎรอยู่อาศัยทำกันในเขตป่าสงวนฯ 
                       ประมาณ 993 ครอบครัวประชากรประมาณ 5923 คน
2.6.3        ราษฎรบุรุกยึดถือครอบครองพื้นที่ป่าสงวนฯ 
 ประมาณ 23384 ไร่
2.6.4    อาชีราษฎร 
ส่วนใหญ่ทำนาเป็นอาชีพหลัก รับจ้างและเก็บของป่าเป็นอาชีพรองรายได้เฉลี่ย 
13900บาท/ครอบครัว เฉลี่ยหนี้สิน
2.6.5        โรงเรียนระดับประถมศึกษา 
ในเขตพื้นที่ป่าสงวนจำนวน จำนวน   6    โรงเรียนวัดและ สำนักสงฆ์ 6 แห่ง
2.6.6        อนุญาตให้กรมชลประทาน 
สร้างอ่างเก็บน้ำห้วยหินชะแนน (โครงการพระราชดำริ) ในพื้นที่สงวนจำนวน
249    ไร่ จังหวัดนครพนมได้ประชาสัมพันธ์ได้ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รับทราบถึงพระ
ราชเสาวนีย์และความห่วงใยที่พระองค์ทรงมีแก่พสกนิกร โดยแบบสอบถามความสมัครใจ ให้ชาวบ้านแสดงความจงรักภักดีน้อมเกล้าฯ ถวายป่าแก่พระองค์ โดยได้ดำเนินการถามหมู่บ้านเป้าหมายที่อยู่ในเขตป่าสงวน จำนวน 6 หมู่บ้าน และอยู่รอบนอกบริเวณเขตป่าสงวนฯ จำนวน 11 หมู่บ้าน มีราษฎรนำพื้นที่ป่าน้อมเกล้าถวาย จำนวน 759 ครอบครัวประมาณ 7592 ไร่ และพื้นวัด ป่าช้า ที่ทำเลเลี้ยงสัตว์ เข้าร่วมโครงการจำนวน 8 แห่ง พื้นที่ 2119 ไร่ รวมทั้งหมด 767 ครอบครัว พื้นที่ทั้งหมด 9711 ไร่ จังหวัดนครพนมได้พิจารณาแบ่งงานออกเป็น  3 ประเภท คือ กรมป่าไม้รับผิดชอบเกี่ยวกับการส่งเสริมอาชีพ และการเกษตรกรม กรมชลประทานรับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดหาแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร โดยมีวัตถุประสงค์ คือ รักษาพื้นฟูสภาพแวดล้อมโดยวิธีรักษาสภาพป่าที่มีอยู่ให้มีการแผ้วถางทำลายเพิ่มขึ้น ส่งเสริมพัฒนาอาชีพให้มีรายได้เพิ่มขึ้นส่งเสริมการทำประโยชน์ในที่ดินตามหลักวิชาการ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานโดยเฉพาะอย่างยิ่ง จัดหาแหล่งเพื่อการเกษตรเริ่มดำนำงานตั้งแต่ปีงบประมาณ 2537 – 2540